วันศุกร์ที่ 18 กุมภาพันธ์ พ.ศ. 2554

Lab10 Time Division Multiplexing

Lab10 Time Division Multiplexing
วัตถุประสงค์
1.เพื่อศึกษาหลักการมัลติเพล็กซ์ทางเวลา
2.เพื่อทดลองการส่งสัญญาณแบบ มัลติเพล็กซ์ทางเวลา 4 ช่อง
3.เพื่อศึกษาการทำงานของวงจรมัลติเพล็กซ์ และดีมัลติเพล็กซ์

อุปกรณ์ในการทดลอง
1.ชุดทดลองระบบสื่อสารมัลติเพล็กซ์
2.แหล่งจ่ายไฟตรงสำหรับวงจรทดลอง
3.ออสซิลโลสโคป 20 MHz แบบ 2 เส้นสัญญาณ
4.เครื่องนับความถี่
5.สายคีบ

หลักการทำงาน
วงจรในการทดลองแบ่งเป็นสองส่วนคือ ภาคส่ง(Transmitter) และภาครับ (Receiver) ดังรูปที่ 2 ซึ่งภาคส่งอยู่ทางซ้ายมือ
 สัญญาณที่ผ่านการมัลติเพล็กซ์ทางเวลาแล้วจะมีการแบ่งช่องเวลาออกเป็น 5 ช่องเวลาเพื่อเรียงสัญญาณดังนี้


 ดังนั้นวงจรภาคส่งจะมีวงจรที่ทำหน้าที่ต่างๆเพื่อสร้างสัญญาณตามที่ต้องการ

ด้านซ้ายมือของวงจรภาคส่งมีอินพุตขาเข้า 4 อินพุต(1,2,3,4) สามารถป้อนสัญญาณความถี่เสียงเข้าได้ โดยอินพุตทั้งสี่ สามารถเลือกว่ามาจากภายในบอร์ดก็ได้โดยการควบคุมที่ดิปสวิทซ์ IC#4051(TP.9) ทำหน้าที่เป็นตัวมัลติเพล็กซ์โดยการสวิทซ์ 5 ช่องควบคุม จาก IC#7490(TP.5,6,7) ซึ่งสัญญาณควบคุมกำหนดจากสัญญาณนาฬิกา IC555(TP.8)
รูปที่ 5 วงจรภาครับแสดง IC#MC1733 ทำหน้าที่ขยายสัญญาณที่รับมา ผ่านวงจรแปลงสัญญาณแสงเป็นไฟฟ้า ออกที่ TP.11 จากนั้นเข้าวงจรแยก Sync. ออกเพื่อสร้างสัญญาณนาฬิกาภาครับให้เข้าจังหวะกับสัญญาณนาฬิกาภาคส่ง โดยใช้ #565PLL ส่วน 7490 และ 4051 ทำหน้าที่เหมือนภาคส่ง

 ผลการทดลอง

 1.เลือกใช้แหล่งกำเนิดสัญญาณอินพุต ภายใน หรือภายนอก ถ้าใช้จากภายนอกป้อนสัญญาณเข้าได้ไม่เกิน 2 V(p-p)
2. เปิดสวิทช์ให้วงจรทำงาน วัดและบันทึกรูปสัญญาณเข้าทั้งสี่ช่อง
CH 1

CH2

CH3

CH 4


3.วัดความถี่และสัญญาณนาฬิกาที่ภาคส่งที่จุด TP8 บันทึกรูปและขนาดของสัญญาณ
Volts/DIV = 2 Volts/DIV
Times/DIV = 1 µs/DIV
Frequency = 1/(2.2 µs) = 454.5 KHz

4.บันทึกรูปคลื่นที่จุด TP5,TP6,TP7 ตั้งค่าฐานเวลาของเครื่องออสซิโลสโคปให้แสดงสัญญาณอย่างน้อย 4 พัลซ์
TP 5

TP 6

TP 7
 5.ป้อนสัญญาณเข้าเป็นรูปซายน์ อย่างเดียวโดยเลือกที่สวิทช์อินพุต แล้วบันทึกสัญญาณขาออกที่ TP9

6.วัดความถี่สัญญาณ Sync ที่ TP9 ว่าเป็นเท่าใด ในหน่วย kHz  Frequency of sync. Pulse 90.9 KHz
7.เปรียบเทียบขนาดของสัญญาณ V_in ที่เข้าไปที่ภาครวมสัญญาณ และขนาดของ V_in ที่ปรากฏ ที่ TP9 ว่ามีขนาดต่างกันอย่างไร มีแรงดันสูญเสียใน Multiplexer Switch เท่าใด ?


0.7   At i/p 
0.45 At o/p
มีแรงดันสูญเสีย ใน Multiplexer Switch 0.7 – 0.45 = 0.25 V


 8.บันทึกรูปคลื่น ของสัญญาณที่ตกคร่อมความต้านทาน  10 Ω (TP4) ว่าเป็นเท่าใด?
Frequency = 90.9 KHz
 9.วัดและบันทึกรูปกระแสพัลซ์ที่เข้า Infrared transmitter ว่ามีรูปร่างอย่างไร


Frequency = 90.9 KHz
10.ขนาดของสัญญาณที่จุด TP11 เปลี่ยนแปลงอย่างไร หลังการปรับที่ Gain adj.
11.บันทึกความถี่สัญญาณนาฬิกาที่ภาค PLL ของวงจรภาครับสร้างขึ้นมามีค่าเท่าใดและความแตกต่างกับสัญญาณนาฬิกาที่ภาคส่งอย่างไร

12.ปรับ R16 ที่ภาค PLL เพื่อดูผลว่า วงจรวสามารถที่จะสร้างสัญญาณนาฬิกาต่างจากสัญญาณ Sync ได้ในช่วงใดบ้าง เมื่อปรับค่า R16 ไม่ถูกต้องสัญญาณที่ส่งมาจะไม่สามารถออกไปที่เอาท์พุต และอาจมีเสียงน้อยซ์จากการที่สัญญาณนาฬิกาไม่ถูกต้อง
13.ทดลองหาค่าความกว้างของแถบความถี่ที่ช่องที่1 โดยการใช้เครื่องกำหนดสัญญาณออดิโอ จากภายนอกป้อนสัญญาณเข้ารูปซายน์ขนาดไม่เกิน 2 V(p-p) แล้วปรับค่าความถี่ไปเรื่อยๆเพื่อบันทึกช่วงผ่านความถี่ ภายในช่วง 3 dB
14.วัดสัญญาณขาออกที่จุดเอาท์พุตของสัญญาณที่1 ทดลองปรับ R16 และดูว่าถ้าสัญญาณนาฬิกาทางภาครับไม่ตรงกับทางภาคส่งแล้วจะเกิดอะไรขึ้น


วิจารณ์ผลการทดลอง
การส่งข้อมูลแบบ TDM นั้นจะสามารถช่วยในการประหยัดวงจรในการส่งข้อมูลจะเห็นได้จากการทดลอง เราสามารถส่งสัญญาณรูปร่างต่างๆ กัน โดยส่งเพียงส่วนหนึ่งของมันเท่านั้น ซึ่งในภาครับก็สามารถที่จะสร้างสัญญาณกลับมาเหมือนตอนส่งได้ ส่วน bandwidth ของวงจร มีค่าขึ้นอยู่กับค่าความถี่สูงสุดของสัญญาณที่ส่งในวงจร ในการทดลอง มีความถี่สัญญาณนาฬิกาที่ใช้ในการควบคุม การ Interleaving โดยใช้วงจร astable multivibrator ส่วน ทางภาครับใช้หลักการ Phase Lock Loop ในการสร้างสัญญาณนาฬิกาที่ตรงกับสัญญาณนาฬิกาในภาคส่ง นอกจากนี้การส่งผ่านเส้นใยแก้วนำแสง ยังแสดงว่าวงจรส่งและรับในการทดลองนั้น แยกกันจริง

สรุปผลการทดลอง
Time division multiplex เป็นกระบวนการทางเทคนิคที่สร้างขึ้นมาเพื่อนำมาใช้การส่งข้อมูล (Transmission) หลายตัวไปพร้อมกัน (สามารถส่งข้อมูลหลายๆ ตัวไปในสายเดียวกัน) โดยอาศัยการแบ่งทางเวลา โดยหลักการคือการใช้ MUX ทำการ Interleaving ส่งข้อมูลออกไป โดยการ interleaving จะถูกควบคุมโดยสัญญาณนาฬิกา
ในการส่งข้อมูลจะมอง MUX เปรียบเสมือนสวิทซ์ ที่จะทำการหมุนไปเรื่อยๆ ด้วยความเร็วคงที่ วนไปตั้งแต่ข้อมูลตัวแรกที่จะทำการส่งไปจนตัวสุดท้ายแล้วจะทำการกลับมาส่ง ข้อมูลตัวแรกอีกครั้ง

 ในการส่งข้อมูลออกไปนั้นจะทำการส่งข้อมูล ออกไปเป็นส่วนๆ ดังรูปด้านล่าง
ตัวอย่างการมัลติเพล็กซ์เชิงเวลา สัญญาณอนาลอก
จะเห็นว่าข้อมูลจะถูก sampling เป็นส่วนๆ ในภาคส่งและในภาครับข้อมูลจะถูก DEMUX กลับออกมาเป็นรูปสัญญาณเดียวกันกับในภาคส่ง ซึ่งถ้าจะให้สัญญาณที่ได้กลับออกมาจากกภาครับเหมือนภาคส่งนั้น สัญญาณนาฬิกาที่ใช้ควบคุมการ Interleaving ต้องมีความถี่เท่ากัน ดังนั้นในการทดลอง เพื่อให้ง่ายต่อการศึกษาขึงทำการใส่สัญญาณ sync เข้าไปเพื่อให้สามารถทำการสังเคราะห์ความถี่ที่ใกล้เคียงกับภาคส่งกลับออกมา ได้
ในการส่งแบบ TDM นี้ จะเห็นว่าจะมีการแบ่ง time slot ไว้เป็นช่วงๆ ซึ่ง time slot นี้จะมีช่วงเท่ากันให้แต่ละ time slot แล้วจึงการส่งข้อมูลเข้าไปใน time slot แต่ละช่อง ดังนั้นเพื่อช่องใดไม่มีข้อมูลในการส่ง TDM ก็ยังแบ่ง time slot ไว้ให้ แต่ในการส่งช่องนั้นจะไม่มีข้อมูลที่ถูกส่งออก ดังรูป


จะเห็นว่าข้อมูล B มี 3 ตัว ดังนั้นตั้งแต่ frame ที่ 4 จะไม่มีข้อมูล B ออกไปเลย แต่ยังมีการจอง time slot ไว้ให้กับข้อมูล B อยู่ ดั่งการทดลองเมื่อทำการส่งแต่ CH1 ก็ยังมีการจองข้อมูลไว้ให้กับ CH อื่นๆ อยู่




วันอาทิตย์ที่ 13 กุมภาพันธ์ พ.ศ. 2554

Lab9 Airmagnet Review

Lab9Airmagnet Review
วัตถุประสงค์
ศึกษาการการทำงานของโปรแกรมสำหรับวิเคราะห์ระบบ เครือข่าย Wireless LAN โดยใช้โปรแกรม AirMagnet^® Laptop ในการวิเคราะห์เบื้องต้น

อุปกรณ์ในการทดลอง
1. คอมพิวเตอร์
2. อุปกรณ์รับสัญญาณ Wireless LAN
3. คู่มือการใช้งานโปรแกรม AirMagnet^® Laptop

ขั้นตอนการทดลอง
1. เปิดโปรแกรม AirMagnet^® Laptop
2. ศึกษาการทำงานของโปรแกรมวิเคราะห์เครื่องข่าย Wireless LAN
3. บันทึกผลการศึกษาการทำงานของโปรแกรม
ผลการทดลอง
1.การเริ่มต้นโปรแกรม
รูปที่ 1  รูปแสดงส่วนต่างๆของโปรแกรม AirMagnet Laptop Wireless LAN Analyzer เมื่อเริ่มเปิดโปรแกรม

 
รูปที่ 2  แสดงแถบนำทาง 

2.การทำงานในหน้าจอ Start

 รูปที่ 3  แสดงมาตราวัดสัญญาณของแต่ละช่องสัญญาณ

 
รูปที่ 4  แสดงข้อมูล ประกอบด้วย Signal , Noise , Signal-to-Noise Ratio


รูปที่ 5  ข้อมูลที่แสดงในส่วน 802.11


รูปที่ 6  แสดงข้อมูลที่สามารถตรวจจับประสิทธิภาพและความปลอดภัย


รูปที่ 7  แสดงกราฟอย่างคร่าวๆของการตรวจจับของสัญญาณ


รูปที่ 8  กรอปสรุปกลุ่มข้อมูล


รูปที่ 9  ตารางสรุปข้อมูลของคลื่น Wireless LAN
 
3.การทำงานในหน้าจอ Channel

รูปที่ 10  หน้าจอ Channel นี้จะบ่งบอกรายละเอียดของช่องสัญญาณที่เราใช้วิเคราะห์


รูปที่ 11  ช่องสัญญาณ Utilization และ Thoughput


รูปที่ 12  ข้อมูลสรุปของช่องสัญญาณ


รูปที่ 13  ข้อมูลของช่องสัญญาณที่แสดงโดยกราฟ
 
4.การทำงานในหน้าจอ Infrastucture

รูปที่ 14  แสดงหน้าต่าง Infrastructure


รูปที่ 15  ข้อมูลแสดงในรูปกราฟของ Infrastructure


รูปที่ 16  ข้อมูลแสดงในรูปกราฟของ Infrastructure


รูปที่ 17  แสดงรายงานข้อมูลสรุปของ Infrastructure
 
5.การทำงานในหน้าจอ AirWISE

รูปที่ 18  แสดงหน้าต่าง AirWISE


รูปที่ 19  แสดงระบบป้องกันภัยในเครือข่าย


รูปที่ 20  Alarm tree VS Alarm List


รูปที่ 21  การวิเคราะห์ข้อมูล


รูปที่ 22  แสดงหน้าต่าง Charts
 
7.การทำงานในหน้าจอ Decodes

รูปที่ 23  แสดงหน้าต่าง Decodes


รูปที่ 24  แสดงขั้นตอนการวิเคราะห์ข้อมูลที่ตรวจจับ
 วิจารณ์ผลการทดลอง
จากการศึกผลผลการทำงานของโปรแกรม AirMagnet Laptop ในขั้นต้นนั้น พบว่าโปรแกรมสามารถแบ่งเป็น 8 ส่วนหลัก ๆ คือ
1. การเริ่มต้นโปรแกรม AirMagnet Laptop
2. แถบนำทาง (Navigation Bar)
3. หน้าจอแสดงส่วนภาพรวมของ Wireless LAN
4. หน้าจอแสดงข้อมูลของช่องสัญญาณคลื่น Wireless
5. หน้าจอแสดงข้อมูลที่จุดต่างๆของคลื่น Wireless
6. หน้าจอการใช้ AirWISE ในการแก้ปัญหา Wireless LAN
7. Identifying top WLAN issues.
8. หน้าจอ Decoding WLAN frame packets
ซึ่ง โปรแกรมนี้เป็นโปรแกรมที่ทำให้ผู้ใช้ทราบถึง ลักษณะสัญญาณในแต่ละจุด ช่องสัญญาณใดที่มีการใช้งานและใจแต่ละช่องสัญญาณผู้ใช้งานอยู่กี่คน จำนวนเยอะแค่ไหน และความเร็วเฉลี่ยเป็นเท่าไรนอกจากนี้ยังมี ข้อมูลของ ความปลอดภัยของตัว Wireless LAN โดยตัวโปรแกรมนั้นแยกเป็นหมวดหมู่ชัดเจน มีการ แสดงกราฟสรุปข้อมูลต่างๆ และยังใช้โค้ดสีเป็นตัวบอกรูปแบบ ทำให้ผู้ใช้ง่ายต่อการวิเคราะห์ตัวระบบ Wireless LAN โปรแกรมนี้ทำให้เราทราบถึงจุดอ่อนจุดแข็งของระบบซึ่งจะช่วยในการปรับปรุงและ พัฒนาระบบให้มีเสถียรภาพให้มากที่สุด

สรุปผลการทดลอง
โปรแกรม AirMagnet Laptop เป็นโปรแกรมที่วิเคราะห์ช่องสัญญาณ wireless LAN ซึ่งในการทดลองนี้วิเคราะห์สัญญาณในอาคาร CB 4 และบริเวณใกล้เคียง ตัวโปรแกรมมีการแบ่งแยกสี และแยกหมวดหมู่ เพื่อให้ง่ายต่อการเข้าใจโปรแกรมและการวิเคราะห์สัญญาณ และยังรู้ถึง IP address ของเครื่องต่างๆที่ใช้งานอยู่ในช่องสัญญาณใดบ้าง นอกจากนี้ยังรู้ได้ถึงความเร็วเฉลี่ยที่ใช้งานในขณะนั้น รวมทั้ง noise ของแต่ละช่องสัญญาณ กำลังการส่งของแต่ละช่องสัญญาณ ทำให้ผู้ใช้สามารถดูข้อมูลจากโปรแกรมนี้ได้ง่าย และสามารถวิเคราะห์แก้ไขปัญหาที่เกิดกับช่องสัญญาณได้อีกด้วย

วันจันทร์ที่ 7 กุมภาพันธ์ พ.ศ. 2554

Lab8 NMEA-0183 Protocol

Lab8 NMEA-0183 Protocol
วัตถุประสงค์
เพื่อศึกษาและได้รู้จักกับตัวอุปกรณ์ GPS และ NMEA-0183 Protocol

อุปกรณ์ในการทดลอง
1. .คอมพิวเตอร์ที่ลงโปรแกรม GPS viewer และ GPSmapedit
2. ตัวรับสัญญาณ GPS
GPS Receiver

        Personal Computer
      
ผลการทดลอง

log file


$GPRMC,030138.000,A,1338.9662,N,10029.5580,E,0.05,72.35,310111,,*3F
$GPGGA,030139.000,1338.9662,N,10029.5580,E,1,05,1.7,50.7,M,-27.4,M,,0000*49
$GPGSA,A,3,17,26,05,12,10,,,,,,,,4.0,1.7,3.6*30
$GPRMC,030139.000,A,1338.9662,N,10029.5580,E,0.06,70.42,310111,,*3F
$GPGGA,030140.000,1338.9663,N,10029.5581,E,1,05,1.7,50.7,M,-27.4,M,,0000*47
$GPGSA,A,3,17,26,05,12,10,,,,,,,,4.0,1.7,3.6*30
$GPRMC,030140.000,A,1338.9663,N,10029.5581,E,0.09,51.85,310111,,*36
$GPGGA,030141.000,1338.9663,N,10029.5581,E,1,05,1.7,50.8,M,-27.4,M,,0000*49
$GPGSA,A,3,17,26,05,12,10,,,,,,,,4.0,1.7,3.6*30
$GPGSV,3,1,12,05,73,265,37,10,48,026,23,12,45,286,26,02,39,358,17*7E
$GPGSV,3,2,12,17,26,113,38,04,26,039,,26,22,173,35,25,09,315,*75
$GPGSV,3,3,12,13,05,051,,27,04,219,35,09,03,231,31,15,00,202,20*7A
$GPRMC,030141.000,A,1338.9663,N,10029.5581,E,0.16,190.99,310111,,*08
$GPGGA,030142.000,1338.9661,N,10029.5580,E,1,05,1.7,50.9,M,-27.4,M,,0000*48
$GPGSA,A,3,17,26,05,12,10,,,,,,,,4.0,1.7,3.6*30
$GPRMC,030142.000,A,1338.9661,N,10029.5580,E,0.39,190.81,310111,,*0C
$GPGGA,030143.000,1338.9662,N,10029.5580,E,1,05,1.7,50.9,M,-27.4,M,,0000*4A



เมื่อดูจาก Log File แล้ว Sentence แต่ละอันจะมีซ้ำกันเรื่อยๆ โดยจะมีอยู่ 4 แบบ สามารถอธิบายได้ดังนี้
 
แบบที่ 1 : $GPGGA,030139.000,1338.9662,N,10029.5580,E,1,05,1.7,50.7,M,-27.4,M,,0000*49
GGA                                       Global Position System Fix Data
030139.000                          Fix taken at 03:01:39 UTC
1338.9662,N                        Latitude 13 deg 38.9662’N
10029.5580,E                      Longitude 100 deg 29.5580’E
1                                              Fix quality: 1 = GPS fix (SPS)
05                                           Number of satellites being tracked
1.7                                          Horizontal dilution of position
50.7,M                                    Altitude, Meters, above mean sea level
-27.4,M                                   Height of geoids (mean sea level) above WGS84 ellipsoid
(empty field)                         time in seconds since last DGPS update     
(empty field)                         DGPS station ID number
*49                                          the checksum data, always beings with *


แบบที่ 2 : $GPGSA,A,3,17,26,05,12,10,,,,,,,,4.0,1.7,3.6*30
GSA                                        Satellite status
A                                              Auto selection of 2D or 3D fix
3                                              3D fix – value include
17,26,05,12,10                     PRNs of satellites used for fix
4.0                                          PDOP (dilution of precision)
1.7                                          Horizontal dilution of precision (HDOP)
3.6                                          Vertial dilution of precision (VDOP)
*30                                          the checksum data, always beings with *

แบบที่ 3 : $GPGSV,3,1,12,05,73,265,37,10,48,026,23,12,45,286,26,02,39,358,17*7E
GSV                                        Satellite in view                   
3                                              Number of sentences for full data
1                                              sentence 1 of 3
12                                           Number of satellite in view
05                                           Satellite RNB number
73                                           Elevation, degrees
265                                         Azimuth, degree
37                                           SNR-higher is better
                                For up to 4 satellite per sentence
*7E                                         the checksum data, always begins with *

แบบที่ 4 : $GPRMC,030138.000,A,1338.9662,N,10029.5580,E,0.05,72.35,310111,,*3F
RMC                                       Recommended Minimun Sentence
030138.000                          Fix taken at 03:01:38 UTC 
A                                              Status A = Active
1338. 9662,N                       Latitude 13 deg 38.9662'N
10029. 5580,E                     Longtitude 100 deg 29. 5580'E
0.05                                        Speed over the ground in knots
72.35                                      Track angle in degrees True
310111                                  Date - 31 January 2011
*3F                                          The checksum data , always begins with *
 
VisualGPS
 
รูปที่ 1 แสดง The Quality of Signal

จากรูป  เป็นโปรแกรม  VisualGPS (Signal Quality Windows) ซึ่งบริเวณพื้นที่สีเทาแสดงว่ามีสัญญาณดาวเทียมที่เคยปรากฏอยู่ก่อนหน้านี้ และพื้นที่สีฟ้าแสดงว่ามีสัญญาณดาวเทียมที่กำลังส่งสัญญาณมาที่ตัวรับสัญญาณ GPS
โดย         แกนนอนจะบอกจำนวนของดาวเทียม
                                แกนตั้งจะบอกความแรงของสัญญาณที่ได้รับจากดาวเทียมแต่ละดวง
 
รูปที่ 2 แสดงตำแหน่งของจานรับสัญญาณดาวเทียม

จากรูป    เป็นโปรแกรม  VisualGPS (Navigation Windows) จะบอก ตำแหน่ง ละติจูด  ลองติจูด และ ระดับความสูงของจานรับสัญญาณดาวเทียม
 
รูปที่ 3 แสดงดาวเทียมที่ส่งสัญญาณและมีการรับสัญญาณ GPS ที่อยู่ในพื้นที่ที่เป็นวงกลมทั้ง 2 สี

จากรูป  เป็นโปรแกรม  VisualGPS (Survey Windows) ซึ่งจะสรุปข้อมูลของการรับสัญญาณทางสถิติ
 
จากรูป  เป็นโปรแกรม VisualGPS (Azimuth & Elevation Windows) เป็นการแสดงตำแหน่งของดาวเทียมที่รับสัญญาณได้ในแต่ละดวงว่าอยู่ตำแหน่งไหน
Google Maps

 
แบบแผนที่
 
แบบดาวเทียม
แบบดาวเทียมและมีป้ายกำกับ
รูปที่ 5 แสดงตำแหน่งของตัวรับสัญญาณ GPS ในรูปแบบต่างๆ จาก Google earth
ซึ่งค้นหาโดยใช้เลขละติจูด และลองติจูด จากโปรแกรม  VisualGPS (Navigation Windows)

วิจารณ์ผลการทดลอง
จากการทดลองนี้เป็นการใช้ตัวGPS Receiver เพื่อรับสัญญาณจากตัวดาวเทียม แล้วมาเข้าโปรแกรม Virtual GPS เพื่อหาตำแหน่งของตัวรับสัญญาณบนแผนที่ โดยในการทดลองโปรแกรมผู้ทดลองควรที่จะเตรียมตัวรวมทั้งศึกษาเกี่ยวกับ อุปกรณ์และขั้นตอนการทดลองเพื่อที่จะลดความผิดพลาดที่จะเกิดขึ้นในการทดลอง ได้

สรุปผลการทดลอง
GPS เป็นระบบที่ใช้บอกตำแหน่งของสถานที่ต่างๆ บนโลกด้วยดาวเทียมระบบการรับ GPS จะรับสัญญาณจากดาวเทียม GPS และคำนวณเวลาการเดินทางของสัญญาณจากดาวเทียม ถ้าได้เวลาจากดาวเทียมสามดวงขึ้นไป สามารถคำนวณระยะทางจากเครื่องส่งสัญญาณดาวเทียมกับเครื่องรับสัญญาณโดยวิธี ทางตรีโกณ และสามารถคำนวณพิกัดจุดรับสัญญาณบนพื้นโลกได้
ในการทดลองได้ ใช้โปรแกรม “GPS mapedit” เพื่อวาดรูปแสดงตำแหน่งตึก CB4 ลงบนแผนที่ โดยใช้โปรแกรม paint มาช่วยวาดรูปตึก โดยดูตำแหน่งพิกัดของตึก CB4 จากโปรแกรม “Google earth” และทำวาดแผนที่ตึก CB4